Part 8 - Niigata City
เมืองนิงาตะตั้งอยู่ในจังหวัดซาราโกซา ในสมัยก่อนนั้นเป็นแค่เขตชานเมืองของเมืองคะนะซะวาเท่านั้น แต่ต่อมาได้เมื่อมีการขยายเขตเมืองและมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นจึงทำให้ในปี 159 ได้ยกระดับฐานะกลา่ยเป็น "เมืองนิงาตะ" ปัจจุบันนิงาตะมีประชากรราวๆ 244,620 คนซึ่งมากเป็นลำดับสองรองจากเมืองกัวลาลัมเปอร์อันเป็นเมืองหลวงของจังหวัดซาราโกซา รวมถึงยังเป็นเมืองที่มีเขตเศรษฐกิจใหญ่เป็นลำดับที่ 3 รองจากเมืองคะนะซะวาและกัวลาลัมเปอร์ นิงาตะมีเขตอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ซึ่งเป็นการร่วมมือกันระหว่างเมืองนิงาตะกับเขตปกครองพิเศษโอไดบะจึงทำให้นิงาตะเป็นศูนย์กลางภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดอีกทั้งยังมีรายได้ต่อหัวสูงที่สุดภายในจังหวัดอีกด้วย
นิงาตะเป็นเมืองที่ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำอะซาโนกะวะโดยทิศเหนือติดกับอวกาศ ทิศตะวันออกติดกับเขตปกครองพิเศษโอไดบะ ทิศใต้ติดกับนครกัวลาลัมเปอร์ และทิศตะวันตกติดกับเมืองคะนะซะวา ด้วยการที่ตั้งอยู่ปากแม่น้ำจึงทำให้ต้องมีการสร้างเขื่อนไว้คอยควบคุมการขึ้น-ลงของน้ำทะเลให้สมดุลย์กับน้ำจืดถ้าไม้งั้นก็คงจะไม่มีน้ำประปาใช้แน่ๆ โดยปลาที่มีรสชาติอร่อยก็อาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำนี้เหมือนกัน
เราไปดูกันเลยดีกว่าว่าเมืองนี้จะมีอะไรให้น่าค้นหาอีกบ้าง....
นิงาตะเป็นเมืองที่ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำอะซาโนกะวะโดยทิศเหนือติดกับอวกาศ ทิศตะวันออกติดกับเขตปกครองพิเศษโอไดบะ ทิศใต้ติดกับนครกัวลาลัมเปอร์ และทิศตะวันตกติดกับเมืองคะนะซะวา ด้วยการที่ตั้งอยู่ปากแม่น้ำจึงทำให้ต้องมีการสร้างเขื่อนไว้คอยควบคุมการขึ้น-ลงของน้ำทะเลให้สมดุลย์กับน้ำจืดถ้าไม้งั้นก็คงจะไม่มีน้ำประปาใช้แน่ๆ โดยปลาที่มีรสชาติอร่อยก็อาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำนี้เหมือนกัน
เราไปดูกันเลยดีกว่าว่าเมืองนี้จะมีอะไรให้น่าค้นหาอีกบ้าง....
ภาพที่ใช้ในการโปสเตอร์ที่ใช้ในการโปรโมทนครนิงาตะครั้งนี้ |
แสดงที่ตั้งของเมืองทิศเหนือติดกับอวกาศ ทิศตะวันออกติดกับเขตปกครองพิเศษโอไดบะ ทิศใต้ติดกับนครกัวลาลัมเปอร์ และทิศตะวันตกติดกับเมืองคะนะซะวา |
ภาพมุมสูงที่ถ่ายจากเครื่องบินที่ระดับความสูง 15,000 เมตร |
ปากแม่น้ำอะซาโนกะวะโดยมีเขื่อนคอยปรับสมดุลย์ของน้ำ |
นครยามราตรีมีความสวยงามไม่แพ้เมืองอื่น |
ย่านการค้า Furumachi เป็นย่านที่ตั้งอยู่หน้าสถานีกลางนิงาตะและเป็นอีกจุดหนึ่งที่มีการจราจรหนาแน่นในเวลาเร่งด่วน |
บรรยากาศแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นด้านทิศเหนือของเมือง |
อาคาร Kita Tower (ล่างซ้าย) เป็นอาคารสำนักงานระฟ้าแห่งแรกของเมืองสร้างขึ้นทันทีหลังจากที่สนามบินคะนะซาวะปิดตัวลงและมีการปลดล็อกความสูง โดยมีความสูงกว่า 213 เมตร |
ย่านเศรษฐกิจยามค่ำคืน |
ย่าน Furumachi ยามราตรี ร้านลวงต่างๆ พากันเปิดแสงออกมาเพื่อเรียกลูกค้าประกอบกับการจราจรที่กำลังหนาแน่นในช่วงหลังเลิกงาน |
อาคารชุดที่อยู่อาศัยมีความคลาสสิกสร้างขึ้นในยุคยกระดับฐานะของเมืองนิงาตะช่วงแรกๆ |
มหาวิทยาลัยนิงาตะมีบรรยากาศที่น่าเรียนเพราะตั้งอยู่ติดกับชายทะเลพร้อมกับค่าเทอมที่ถูกมากแต่คุณภาพนักศึกษาดีเยี่ยม |
เขื่อนนิงาตะคอยเปิด-ปิดการไหลของน้ำจืดกับน้ำเค็ม ตั้งอยู่ปากแม่น้ำอะซาโนกะวะโดยก่อนก่อสร้างมีการประทวงจากกลุ่มผู้ที่ขาดความรู้ แต่เขื่อนก็สามารถสร้างมาได้เพราะมีความจำเป็นจริงๆ |
ย่านชานเมืองซึ่งกลายจะเป็นย่านกลางเมืองซะแล้ว |
ย่านชานเมืองยามค่ำคืน |
ภาพก่อน - หลังการพัฒนาพื้นที่สนามบินคะนะซาวะ (เก่า) ให้กลายเป็นย่านธุรกิจด้วยเงินลงทุนมหาศาลกว่า 67,500 ล้านบาทโดยส่งผลให้เศรษฐกิจกระเตื้องขึ้นกว่า 14.86% |
อาคารมหานครเป็นอาคารที่สวยที่สุดในเมืองนิงาตะ เป็นทั้งที่อยู่อาศัยและคาเฟ่แมว |
อาคารสำนักงานซัมซุงที่ขยายสาขาไปทั่วราชอาราจักร |
ภาพยามค่ำคืนของเขตที่ได้รับการพัฒนา |
สถานีรถไฟนิงาตะเก่าอดีตเคยเป็นสถานีหลักแต่ต่อมาเกิดความคับแคบจึงได้ย้ายสถานีกลางไปที่เขต Furumachi |
สถานีกลางนิงาตะมีผู้โดยสารกว่า 60,000 คน/วันเป็นชุมทางขนาดกลางมีรถไฟสายหลัก 2 สายสายรอง 2 สายเชื่อมโยงกันที่สถานีนี้ |
อาคารสำนักงานสถานีนิงาตะและห้างสรรพสินค้าที่บริหารโดยบริษัทรถไฟได้กำไรเป็นกอบเป็นกำ |
การจราจรช่วงหลังเลิกงานบริเวณย่าน Furumachi มีความหนาแน่นสูงมากเฉลี่ยเคลื่อนที่ได้ 5 กม/ชม |
เขตอุตสาหกรรมนิงาตะที่ร่วมมือกับเขตการปกครองพิเศษโอไดบะซึ่งในอยู่เมืองนิงาตะประมาณ 1/6 ของเขตอุตสาหกรรมทั้งหมด อีก 5/6 นั้นอยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษโอไดบะ |
โปรดติดตามตอนต่อไป...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น